5 วิธีรับมือสิ่งรบกวน ให้คุณทำงานได้ Flow ขึ้น
ปัจจุบันเราโดนสิ่งเร้ารอบตัวรบกวนทำให้ไม่สามารถจดจ่อกับงานใดงานหนึ่งได้นาน หรืออาจจะด้วยหน้าที่การงานบีบบังคับให้เราต้อง Multi-tasking
‘พูดไม่ผิด แต่ทำไมคนเข้าใจเราผิด’
ถึงแม้เราจะใช้ “วัจนภาษา” ในการสื่อสารในชีวิตประจำวันเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นภาษาพูดหรือภาษาเขียน แต่สิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญไม่แพ้ “วัจนภาษา” เลยก็คือ “อวัจนภาษา” ซึ่งประกอบไปด้วย น้ำเสียง ท่าทาง สายตา กลิ่น ระยะห่าง สัมผัส หรืออากัปกิริยาต่างๆ
‘สำเร็จได้!’ แม้จะเริ่มช้ากว่าคนอื่น
กฎ 10,000 ชั่วโมง ก็คือ ทฤษฎีที่ Malcolm Gladwell เคยอธิบายไว้ในหนังสือ ว่าด้วยจำนวนชั่วโมงในการฝึกฝนทักษะและการทำงานจน “เชี่ยวชาญ”
เทคนิคบาลานซ์การมองโลก ให้ไม่ดีไม่ร้ายจนเกินไป
การมองโลกในแง่ ‘ร้าย’ หรือ ‘ดี’ ต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียในตัวของมันเอง บางครั้ง การมองโลกในแง่ร้ายถึงแม้จะทำให้คนเราเครียด วิตกกังวลง่าย
เพราะความช่างสงสัยก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ – ‘curiosity’ ของทีมงานสำคัญแค่ไหนกับ creativity ขององค์กร
เพราะความช่างสงสัยก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ – ‘curiosity’ ของทีมงานสำคัญแค่ไหนกับ creativity ขององค์กร
เคยรู้สึกเจ็บปวดหรือหวาดกลัวการโดนตัดสินจากผู้อื่นบ้างไหม – เผชิญหน้ากับคำปฏิเสธเพื่อให้ตัวเองได้เติบโต
เพราะทุกครั้งที่เราโดนปฏิเสธเรามักจะรู้สึกเจ็บปวดและไม่มั่นใจที่จะทำอะไรหลายๆ อย่างในชีวิต โดยเฉพาะเรื่องของการเริ่มต้นอะไรบางอย่างที่สำคัญ
5 องค์ประกอบของ Well-being at Work ที่องค์กรต้องรู้ก่อนจะเสียคนเก่งไป
หัวใจสำคัญที่จะทำให้ธุรกิจปรับตัว ผ่าวิกฤตไปได้ นั่นก็ คือ พนักงานที่มีคุณภาพ การจะสร้างพนักงานที่มีคุณภาพ อาจจะทำได้หลายวิธี แต่การที่จะรักษาให้พนักงานที่มีคุณภาพ อยู่สร้างสรรค์สิ่งดีๆให้กับองค์กรต่อไป พนักงานต้องรู้สึกว่าองค์กรได้ดูแลพวกเขาด้วย
4 เรื่องด้านมืดของ Empathy ที่เรานึกไม่ถึงและควรระวัง
หนึ่งในศัพท์ทางจิตวิทยาที่กำลังถูกใช้อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน คือ คำว่า “Empathy” หรือ การเอาใจเขามาใส่ใจเราและรู้สึกร่วมไปกับอีกฝ่าย ไม่ว่าคุณจะอยู่ในวงการไหน คุณก็จะได้ยินคำว่า Empathy ควบคู่กับการจัดการเรื่องคนเสมอ เพราะทุกคนต่างก็อยากได้รับความเข้าใจโดยไม่ตัดสินใดๆ แต่ใครจะรู้บ้างว่า การมี Empathy ที่ผิดที่ผิดทาง อาจส่งผลกระทบที่เสียหายได้
เรื่องไม่ง่ายที่ผู้หญิงมักเจอในการทำงาน (พร้อมวิธีแก้ไข)
หากพูดถึงคำว่า “ผู้นำ” ภาพแวบแรกที่คุณเห็นในจินตนาการนั้น เป็นผู้ชาย หรือ ผู้หญิงก่อนกัน จากสถิติที่ผ่านมาพบว่าสังคมไทยโดยเฉพาะในเรื่องของการทำงาน เรายังคงให้ความสำคัญกับผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ถึงแม้ว่าผู้หญิงจะเริ่มมีบทบาทในตำแหน่งที่ใหญ่โตมากกมายในหลายๆ องค์กร แต่ก็ต้องยอมรับกันว่า ภาพลักษณ์ ของคำว่า “ผู้นำ” ของใครหลายๆ คนก็ยังคงเป็นภาพผู้ชายอยู่ดี